top of page
キーボード上の男の手

บริการสนับสนุนด้านไอที (RPA)

ฉันชื่อโจอา มันคือหุ่นยนต์ปฏิบัติการพีซี

เราจะช่วยคุณทำงานในสำนักงานตลอด 24 ชั่วโมง 365 วันต่อปี

ค่าแรงงานจะยังคงสูงขึ้นในประเทศไทย

นอกจากนี้ยังขาดแคลนวิศวกรไอที

การหมุนเวียนของทรัพยากรบุคคลที่ยอดเยี่ยมก็รุนแรงเช่นกัน

 

หากมองไปในอนาคตอันใกล้ทำไมไม่เริ่มระบบอัตโนมัติ (RPA)

ไม่ต้องมีค่าธรรมเนียมใบอนุญาตหรือวิศวกรไอทีราคาแพง

 

ตอนนี้เป็นยุคของ BPO (Business Process Outsourcing)

ระบบอัตโนมัติรายเดือน (RPA) เป็นไปได้สำหรับจำนวนคงที่

ทิ้งไว้ให้เรา

 

ลูกค้าที่พิจารณาใช้บริการ BPO

พร้อมให้คำปรึกษาฟรี

* ขายได้เฉพาะใบอนุญาตเท่านั้น

(ลูกค้าที่คิดจะซื้อสามารถเช่าได้ฟรี 1 เดือน)

RPA? หุ่นยนต์ทำงานพีซี? BPO? คืออะไร

“มีปัญหาเหล่านี้บ้างไหม”

มีการเข้าออกของพนักงานชั่วคราวบ่อยมากเสียจนยกระดับประสิทธิภาพการผลิตของแต่ละคนไม่ได้

มีการเข้าออกของพนักงานชั่วคราวบ่อยมากเสียจนยกระดับประสิทธิภาพการผลิตของแต่ละคนไม่ได้

การกรอกข้อมูลในแต่ละเดือนมีความผิดพลาดและตกหล่นจำนวนมาก

ใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูลจากหน้างาน (แปลงข้อมูล)  ออกรายงานก็ช้า

ใช้เวลาหมดไปกับลูกค้าที่มีอยู่ ไม่สามารถส่งไดเรคเมลของธุรกิจใหม่ได้เลย

เพิ่มผลผลิตไหม ?

คุณมีปัญหาเช่นนี้หรือไม่?

“ยกระดับผลิตภาพ=RPA”

ความแม่นยำ

ความผิดพลาดจากคนลดลงมาก

 ทรัพยากร

ใช้ทรัพยากรมนุษย์อย่างมีประสิทธิภาพ

ประสิทธิภาพ

ลดความสูญเปล่าในกระบวนการทำงาน

ปรับปรุงงานด้วย

RPA

วัตถุประสงค์ดั้งเดิมของการนำ RPA เข้ามาใช้งาน คือ การยกระดับ “ผลิตภาพ” ของการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจและกิจการ

การปรับปรุงผลผลิต = RPA

"RPA คืออะไร"

ระบบอัตโนมัติของกระบวนการหุ่นยนต์ (RPA) →หุ่นยนต์การทำงานของพีซี: Joa

งานประจำ

การทำงานอัตโนมัติของพีซี

ลดต้นทุนและเวลาที่ใช้ในการทำงานประจำในแต่ละวันลงด้วย RPA

 

สามารถใช้ RPA เข้ามาสร้างเสถียรภาพให้กับงานที่มีช่องว่างระหว่างช่วงยุ่งและช่วงว่าง รวมถึงงานที่มีปริมาณการซ่อมแซมจำนวนมากเป็นประจำ

เมื่อให้หุ่นยนต์จดจำได้ครั้งหนึ่งแล้ว ก็จะไม่มีวันลาออก จึงสามารถลดต้นทุนการฝึกอบรมลงได้อีกด้วย

ให้หุ่นยนต์จดจำงานที่ต้องมีการป้อนข้อมูลจำนวนมาก งานที่มีการทำซ้ำจำนวนมากและงานที่มีกระบวนการยาว แล้วโยกคนไปทำงานที่มีมูลค่าเพิ่มสูงกันดีกว่า

ลดความเสี่ยงและการต้องทำงานเพิ่มจากการทำงานผิดพลาดด้วย RPA

 

งานที่ต้องประมวลผลปริมาณมาก เช่น งานที่ต้องทำซ้ำ งานที่มีกระบวนการมาก และงานที่ทำเป็นประจำในทุกๆ วัน มักเป็นงานที่มีความผิดพลาดเพิ่มขึ้นได้จากแรงกดดันและความเคยชิน

หุ่นยนต์สามารถทำงานที่จดจำได้แล้วครั้งหนึ่งซ้ำไปมาได้ด้วยคุณภาพเดิมโดยไม่เกี่ยงว่าจะเป็นกลางวันหรือกลางคืน

ด้วยการกำหนดขอบเขตงานที่จำเป็นต้องให้คนเข้ามาแทรก และจดจ่ออยู่กับงานที่จำเป็นด้วย RPA จะลดได้ทั้งความผิดพลาดและลดการทำงานลงอีกด้วย

ถ้าเป็น RPA จะสามารถปรับปรุงงานให้ดีขึ้นได้โดยไม่ต้องแก้ไขระบบที่ใช้อยู่ในงาน

สามารถปรับปรุงงานให้ดีขึ้นได้ด้วย RPA โดยไม่ต้องแก้ไขระบบที่ใช้อยู่ภายในบริษัท รวมถึงแอปพลิเคชั่นที่ใช้อยู่เป็นประจำในงานแต่ละวัน

เมื่อนำ RPA เข้ามาใช้ ไม่จำเป็นต้องพัฒนาเครื่องมือและแก้ไขระบบให้เข้ากับงาน

สามารถตอบสนองความต้องการปรับปรุงงานให้ดีขึ้นของผู้รับผิดชอบหน้างานได้อย่างรวดเร็ว ด้วยโซลูชั่นที่ขับเคลื่อนวงจร PDCA ได้ง่ายโดยไม่เกี่ยงประเภทงานหรืออุตสาหกรรมใดๆ

หุ่นยนต์ที่ทำงานบนพีซีจะเข้ามาทำงานในสำนักงานหลังบ้านซึ่งมีเพียงมนุษย์เท่านั้นที่ทำได้จนถึงปัจจุบัน

RPA คืออะไร?

“การจับคู่ ERP กับ RPA เข้าด้วยกัน”

Enterprise resource planning (ERP) 

* SAP เป็นหนึ่งในระบบ ERP เช่นกัน

รวบรวมข้อมูลทรัพยากรทางธุรกิจเข้าด้วยกัน จัดการแบบรวมศูนย์ แปลงข้อมูลให้เห็นได้

Robotic process automation(RPA)

ทำงานประจำที่เป็นงานของคนให้เป็นอัตโนมัติ

ERP

คน

ERP

RPA

คน

1. สามารถทำให้กระบวนการทำงานที่คล่อมกันอยู่ทั่วทั้งองค์กรทำงานเป็นอัตโนมัติได้

 

ERP เป็นผลิตภัณฑ์ซอร์ฟแวร์แพคเกจที่สามารถรวบรวมแอปพลิเคชั่นการทำงานที่แยกตามแต่ละแผนกเข้าเป็น 1 เดียวได้

ด้วยการจับคู่รวมกับ RPA ก็จะสามารถทำให้กระบวนการทำงานที่คล่อมกันอยู่ทั่วทั้งองค์กรทำงานเป็นอัตโนมัติได้

เช่น ในงานสร้างใบแจ้งหนี้ ฝ่ายขายรับใบสั่งซื้อจากลูกค้า แล้วส่งมอบข้อมูลดังกล่าวไปยังแผนกบัญชี ใบแจ้งหนี้ก็จะออกมาภายในช่วงเวลาที่กำหนด

 

ในกรณีที่มี RPA ในขั้นตอนที่ฝ่ายขายกรอกข้อมูลใบแจ้งหนี้เข้าไปในระบบ ข้อมูลก็จะปรากฏในระบบบัญชีด้วย เมื่อถึงช่วงเวลาที่กำหนดก็สามารถตั้งโปรแกรมให้ออกใบแจ้งหนี้โดยอัตโนมัติ

นอกจากนี้ ในกรณีที่ทำงานออกใบแจ้งหนี้ด้วย EDI(Electronic Data Interchange) ก็สามารถทำให้เป็นอัตโนมัติได้ไปจนถึงการเวียนกระบวนการอนุมัติใบเสนอราคา

2. ผู้ดูแลระบบทำการดูแลโปรแกรมอัตโนมัติได้ง่ายขึ้น

 

ความยากในการนำ RPA เข้ามาใช้ คือ มีความเป็นไปได้ที่โปรแกรมอัตโนมัติจำนวนนับไม่ถ้วนจะถูกสร้างขึ้นแล้วถูกปล่อยทิ้งไว้ซึ่งจะส่งผลเสียต่อระบบ

ด้วยเหตุดังกล่าว ในการนำ RPA เข้ามาใช้ ผู้ดูแลระบบจึงต้องดูแลโปรแกรมอัตโนมัติด้วยความระมัดระวังอยู่เสมอ แต่ถ้าในกรณีที่มีระบบ ERP เนื่องจากแพลตฟอร์มที่ โปรแกรมอัตโนมัติของ RPA ทำงานอยู่เป็นแพลตฟอร์มเดียวกัน จึงทำให้การดูแลระบบสามารถทำได้ง่ายขึ้น

3. สามารถคาดหวังได้ถึงการปรับปรุงผลิตภาพการทำงานที่สูงยิ่งกว่าเดิมของแรงงาน

จากข้อดีดังกล่าวมาข้างต้น การจับคู่ ERP กับ RPA เข้าด้วยกันจะทำให้สามารถคาดหวังได้ถึงการยกระดับผลิตภาพการทำงานที่สูงยิ่งขึ้นของแรงงาน และสามารถเพิ่มมูลค่าเพิ่มของธุรกิจให้สูงยิ่งกว่าเดิมได้

เนื่องจากบริษัญี่ปุ่นถูกมองว่าเป็นประเทศที่มีผลิตภาพของแรงงานต่ำในระดับโลก หากการจับคู่กันของ ERP กับ RPA จะสามารถช่วยให้ผลิตภาพของแรงงานสูงขึ้นได้ ก็อาจจะสามารถต่อยอดทางธุรกิจที่ไม่เคยมีมาก่อนได้

* RPA สำหรับกิจการที่ไม่ได้ใช้ระบบ ERP *

ทั้ง ERP และ RPA ต่างก็มีข้อดีมากมายในการแก้ปัญหาขององค์กรดังที่กล่าวมาแล้วในข้างต้น

  ในกรณีที่ยากต่อการนำ ERP เข้ามาใช้งาน การรองรับด้วย RPA จึงกลายเป็นแนวคิดหลัก

การจับคู่ ERP กับ RPA เข้าด้วยกัน
bottom of page